พระอู่ทอง

พระพุทธรูป สมัยอู่ทอง

พุทธลักษณะและประวัติของพระพุทธรูปสมัยอู่ทอง

พระพุทธรูปสมัยอู่ทองมีลักษณะผสมผสานระหว่างศิลปะอินเดียและขอม เกิดขึ้นในช่วงพุทธศตวรรษที่ 18–19 ก่อนการสถาปนากรุงศรีอยุธยา จุดเด่นอยู่ที่พระพักตร์รูปไข่หรือเหลี่ยม ขมวดพระเกศาใหญ่ พระขนงโก่งเช่นรูปปีกกา พระเนตรโปน พระนาสิกโด่ง และพระโอษฐ์เล็ก พระอังสากว้าง พระหัตถ์มักแสดงปางมารวิชัยหรือปางสมาธิ มีทั้งแบบครองจีวรห่มเฉียงและห่มคลุม ชายจีวรเป็นริ้วเล็ก ๆ ที่บริเวณพระอุระ

พระพุทธรูปสมัยนี้สะท้อนถึงความเปลี่ยนแปลงทางศิลปวัฒนธรรมในช่วงหัวเลี้ยวของประวัติศาสตร์ไทย และถือเป็นรากฐานสำคัญของศิลปะพระพุทธรูปในสมัยอยุธยาต่อมา

พระอู่ทอง 3-12 นิ้ว

หน้าตัก 3 นิ้ว

รูปที่ 1

DKN1UT03AY

พระอู่ทอง 3 นิ้ว

พิมพ์สวย ประทานพรล่าง พ่นสีทอง

พิมพ์ มร1.

H14 W10 D6 ซม.

หน้าตัก 4 นิ้ว

รูปที่ 1

BCEBUT03EY

พระอู่ทอง 4 นิ้ว

สดุ้งมาร เรซิ่น พ่นสีทอง

พ.จช.

H17 W12 D7 ซม.

Code18BXEQXVT

(ในรูปคือ ตัวอย่างก่อนพ่นสีทอง)

หน้าตัก 5 นิ้ว

รูปที่ 1

DKL1UT05EB

พระอู่ทอง 5 นิ้ว

ห่มลาย สดุ้งมาร สีมันปู

พิมพ์ มร1.

H19 W12.5 D7.5 ซม.

รูปที่ 2

DKN3UT05EA

พระอู่ทอง 5 นิ้ว

สดุ้งมาร รมกีวี

พิมพ์ มร3.

H20 W14.5 D8 ซม.

รูปที่ 3A

FACLUT05EB

พระอู่ทอง 5 นิ้ว

ห่มลาย สดุ้งมาร สีมันปู

พิมพ์ จช.

H23 W16 D9.5 ซม.

รูปที่ 3B

DKL2UT05ED

พระอู่ทอง 5 นิ้ว

ห่มลาย สดุ้งมาร สีดำ

พิมพ์ จช.

H23 W16 D9.5 ซม.

รูปที่ 4

DKN1UT05EP

พระอู่ทอง 5 นิ้ว

สดุ้งมาร ขัดเงา

พิมพ์ มร1.

H23 W17 D9.5 ซม.

รูปที่ 5

LKS1UT05EY

พระอู่ทอง 5 นิ้ว

ฐานรัตนะ สดุ้งมาร พ่นสีทอง

พิมพ์ บสล.

H29 W23 D14 ซม.

รูปที่ 6

พระอู่ทอง 5 นิ้ว

สดุ้งมาร สีดำ

H21 W13 D7 ซม.

หน้าตัก 9 นิ้ว

รูปที่ 1

พระอู่ทอง 9 นิ้ว

สดุ้งมาร สีมันปู

H37 W27 D15 ซม.

รูปที่ 2

พระอู่ทอง 9 นิ้ว

ห่มลาย สดุ้งมาร ขัดเงา

H38 W28 D16 ซม.

Code09CXJWZXBK

รูปที่ 3

พระอู่ทอง 9 นิ้ว

สดุ้งมาร ขัดเงา

พิมพ์ ปศ.

H40 W29 D16 ซม.

Code10GXJQZXDX

รูปที่ 4

พระอู่ทอง 9 นิ้ว

สดุ้งมาร สีดำ

H34 W25 D12 ซม.

หน้าตัก 12 นิ้ว

รูปที่ 1

SKI1UT12EP

พระอู่ทอง 12 นิ้ว

ห่มลาย สดุ้งมาร ขัดเงา

พิมพ์ คิด.

H51 W35 D18 ซม.

รูปที่ 2

พระอู่ทอง 12 นิ้ว

สดุ้งมาร สีมันปู

H49 W34 D18 ซม.