พระอู่ทอง
พระพุทธรูป สมัยอู่ทอง
พุทธลักษณะและประวัติของพระพุทธรูปสมัยอู่ทอง
พระพุทธรูปสมัยอู่ทองมีลักษณะผสมผสานระหว่างศิลปะอินเดียและขอม เกิดขึ้นในช่วงพุทธศตวรรษที่ 18–19 ก่อนการสถาปนากรุงศรีอยุธยา จุดเด่นอยู่ที่พระพักตร์รูปไข่หรือเหลี่ยม ขมวดพระเกศาใหญ่ พระขนงโก่งเช่นรูปปีกกา พระเนตรโปน พระนาสิกโด่ง และพระโอษฐ์เล็ก พระอังสากว้าง พระหัตถ์มักแสดงปางมารวิชัยหรือปางสมาธิ มีทั้งแบบครองจีวรห่มเฉียงและห่มคลุม ชายจีวรเป็นริ้วเล็ก ๆ ที่บริเวณพระอุระ
พระพุทธรูปสมัยนี้สะท้อนถึงความเปลี่ยนแปลงทางศิลปวัฒนธรรมในช่วงหัวเลี้ยวของประวัติศาสตร์ไทย และถือเป็นรากฐานสำคัญของศิลปะพระพุทธรูปในสมัยอยุธยาต่อมา
พระอู่ทอง 15-40 นิ้ว
หน้าตัก 15 นิ้ว
หน้าตัก 20 นิ้ว
หน้าตัก 25 นิ้ว
หน้าตัก 25 นิ้ว
พิมพ์ บป.
พิมพ์ บม.
หน้าตัก 30 นิ้ว
หน้าตัก 30 นิ้ว
พิมพ์สวย จช.
พิมพ์ บป.
พิมพ์อื่นๆ
หน้าตัก 40 นิ้ว
หน้าตัก 40 นิ้ว
พิมพ์สวย จช.
รูปที่ 1A
พระอู่ทอง 40 นิ้ว
พิมพ์หนา สดุ้งมาร ขัดเงา
พิมพ์ จช.
H182 W135 D61 ซม.
Code12SellVBKRQZXGX
*องค์จริงจะต้องมีเกศเปลวเพลิงด้วยครับ*
รูปที่ 1B
พระอู่ทอง 40 นิ้ว
พิมพ์หนา สดุ้งมาร ขัดเงา
พิมพ์ จช.
H182 W135 D61 ซม.
Code12SellVBKRQZXGX
*องค์จริงจะต้องมีเกศเปลวเพลิงด้วยครับ*
รูปที่ 3A
พระอู่ทอง 40 นิ้ว
หล่อทั้งองค์ สดุ้งมาร ลงทราย
พิมพ์ จช.
H185 W138 D70 ซม.
Code12SellCDJSZZXXCX